ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2019

วิธีการสร้างดอกกลัดใน artcam

วิธีการสร้างดอกกลัดใน artcam 1.เปิดโปรแกรม artcam ขึ้นมา 2.ให้เราทำการคลิกตามลูกศรดังภาพ   3.ให้เราทำการเคิกเมาส์ไปที่ create profile tooolpath ดังภาพก็จะได้ประมาณนี้ ดังรูปที่2     4ให้คลิกที่ click to select จากนั้นก็กด add tool... 5.ให้เราทำการสร้างดอกกัดตามที่เราต้องการได้เลย    5.1ตั้งชื่อดอกกลัดตามที่เราต้องการ    5.2ให้เราเลือกชนิดของดอกกลัด    5.3หมายเลขของดอกกลัด    5.4หน่อวยของขนาดความโตของดอกเป็นมินลิเมตร    5.5หน่วยของดอกกัดให้เรากำหนดเป็นมิลลิเมตร/มิล    5.6ขานดความโตของดอก    5.7เวลากลัดจะให้ดอกกลัดลงไปลึกที่ละเม่าไหร่    5.8ระยะความละเอียดของดอกเวลาเดินหลายๆรอบ    5.9ความเร็วของหัวกลัด  5.10ความเร็วการเดินของเครื่อง  5.11ความเร็วของแกรนz

จำลองหลักการทำงานของservo motor

จากภาพเป็นการต่อวงจรที่จะนำมาทำการทดลองการทำงานของ servo motor โดยใช้ dc motor ในการทำลองโดยรับค่า analog จาก volume เป็นตัวสั่งหมุน และใช้ volume อีก1ตัวเป็นเซ็นเซอร์ตรวจเช็คตำแหน่ง

วิธีปาดหน้าชิ้นงานให้เรียบเสมอกัน

วิธีปาดหน้าชิ้นงานให้เรียบเสมอกัน 1ให้เรานำชิ้นงานที่เราต้องการจะปาดหน้ามายึดให้เรียบร้อยก็ะได้ประมาณนี้ครับ 2ให้เราทำแคมขี้นมาเพื่อที่จะปาดหน้าของชิ้นงาน ของผมก็จะได้ประมาณนี่ครับ 3จากนั้นให้เราทำการเปิดโปรแกรมแคนเดิลขึ้นมาและทำ กดเซ็ตzeroตามลูกศรดังภาพ 4จากนั้นก็เราทำการปาดได้เลยโดยกดตามลูกศรดังภาพ ขอขอบคูณทุกๆท่านที่เข้ามาอ่าด้วยนะครับ

คู่มือการใช้ tinkercad เบื้องต้น

คู่มือการใช้งานเบื้องต้น 1.tinkercad               t inkercad คือ  โปรแกรมออกแบบที่ทำงานบน Web Browser  ที่ช่วยในการออกแบบวงจรและยังสามารถจำลองการทำงานของวงจรได้อีกด้วย อีกทั้งยังช่วยในการออกแบบงานจำพวก3dได้อีกด้วยทั้งนี้ทั้งนั้นเราของยกมาแค่การออกแบบวงจรก่อนนะครับ ขั้นตอนการใช้โปรแกรมเบื้องต้น 1.เปิดโปรแกรม หน้าตาโปรแกรมก็จะประมาณนี้คับ 2.เมื่อเปิดโปรแกรมเสร็จแล้วให้ไปที่ Circuits  > try Circuits 3.จากนี้เราก็สามารถเขียนวงจรได้แล้ว 4.ถ้าเราต้องการที่จะเปลี่ยนสีสายของสายที่ใช้ต่อหรือพวกledให้ทำการคลิกทีอุปการณ์และเลือกได้เลย วิธีการนี้ใช้ได้กับการเปลี่ยนค่าตัวต้านทานด้วยเช่นกัน   5.ถ้าเราต้องการที่จะจำลองการทำงานให้เราไปที่ code จากนั้นก็ทำการเขียนได้เลยแต่ในtinkercadมันสามารถเขียนcodeได้หลายแบบมีดังนี้    6.เรามาจำลองการทำงานดูกันเลยดีกว่า ให้เราไปเขียนcodeให้เสร็จก่อนจากนั้นให้ไปกดที่ start simulation จากนั้นมันก็จะทำงานตามที่เราเขียนcode ใว้   7.โปรแกรมมันจะทำการ save ให้เราเองครับผม ถ้าผิดพลาดตรงใหนช่วยชี้แนะหรือเพิ่มเ

การใช้งานโปรแกรม Fritzing แบบพื้นฐานขอพื้นฐาน Nisakorn

คู่มือการใช้งานโปรแกรมเบื้องต้น 2. Fritzing   โปรแกรม Fritzing เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการออกแบบวงจรสำหรับบอร์ดต่างๆ เช่น Arduino รุ่นต่างๆช่วยให้วางในตำแหน่งที่เหมาะสม ที่สำคัญยังเป็นโปรแกรมฟรีช่วยในการออกแบบวงจรลงบน BreadBoard วาดวงจร Schemetic และการออกแบบแผ่นปริ้น (PCB) ขั้นตอนการใช้งาน Fritzing เบื้องต้น 1.เปิดโปรแกรม หน้าตาโปรแกรมก็จะประมาณนี้คับ 2. คลิ๊กเปิดหน้าใหม่ File > New 3. เมื่อเปิดเสร็จก็จะมีหน้าตาประมาณนี้ ซึ่งเมื่อเข้ามาจะมีอุปกรณ์มากมาย ดังนี้                4. เราสามารถเอาอุปกรณ์ลากมาได้ดังรูป เพื่อที่จะสามารถดูว่าสยไหนเป็นสายไหนเราสามารถเปลี่ยนสีของสายได้ดังนี้ กดที่ Wre Color -  เลือกสีที่ต้องการดังรูป ผมใช้สีแดง 5. โปรแกรมนี้สามารถวงจรไฟฟ้าที่เราเขียนได้กดที่ Schematic 6.วิธีการ Save ไปคลิ๊กที่  File > Save As ซึ่งนามสกุลของมันคือ fzz เราสามารถ save ไฟล์แบบรูปภาพไดหากต้องการไปใช้ ไปที่   file  - expost - as Image  - เลือกแบบที่ต้องการ และโปรแกรมนี้สามารถออก แบบวงจรบนแผ่น PCB ได้โดยการลากอุปกรณ์เข้าด้วยกันดังรูปบ

ใช้โวลุ่มมาคอนโทรลมอเตอร์โดยใช้arduino

int SENSOR_PIN = 0; int RPWM_Output = 5; int LPWM_Output = 6; void setup() {    pinMode(RPWM_Output, OUTPUT);    pinMode(LPWM_Output, OUTPUT); } void loop() {    int sensorValue = analogRead(SENSOR_PIN);    if (sensorValue < 512)    {          int reversePWM = -(sensorValue - 511) / 2;      analogWrite(LPWM_Output, 0);      analogWrite(RPWM_Output, reversePWM);    }    else    {           int forwardPWM = (sensorValue - 512) / 2;      analogWrite(LPWM_Output, forwardPWM);      analogWrite(RPWM_Output, 0);    } } เป็นการใช้โวลุ่มมาคอนโทรลมอเตอร์โดยใช้arduino ถ้าอยากรู้เิ่มเติมไปดูที่ลิ้งค์ด้านล่างได้เลยครับ http://www.hessmer.org/blog/2013/12/28/ibt-2-h-bridge-with-arduino/