ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มิถุนายน, 2020

การสร้างเฟืองสำหรับ Robot arm

จัดทำโดย นายณฐกร      โชติบุตร      แผนกเมคคาทรอนิกส์  วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร ทำการโหลดโปรเเกรม   openscad เเล้วทำการติดตั้งโปรเเกรมให้เรียบร้อย ทำการเปิดลิ้ง https://www.thingiverse.com/thing:16627 ทำการ Download ให้เรียบร้อย เเล้วเเตกไฟล์ เปิดโปรเเกรม   openscad  กด Open เเล้วเลือกไฟล์ที่ได้ทำการ Download เเล้วเลือก files  เเล้วเปิด  Pulley_T-MXL-XL-HTD-GT2_N-tooth เเล้วจะได้หน้าต่างเเบบนี้มา เราสามารถเเก้ไขขนาดของเฟืองได้ เเล้วก็เปลี่ยนขนาดตามที่เราต้องการ เเล้วก็ยีงสามารถเปลี่ยนรุ่นตามที่เราต้องการ เปลี่ยนค่าเลขตามที่เราจะสร้าง 1=MXL                   6=T5                         11=HTD_8mm  2=40DP                  7=T10                        12=GT2_2mm 3=XL                      8=AT5                         13=GT2_3mm 4=H                       9=HTD_3mm                14=GT2_5mm 5=T2.5                10=HTD_5mm  พอเลือกเสร็จเเล้วให้กด ก็จะได้เเบบ 3D ที่เราต้องการ

วัดองศาการเคลื่อนที่ โดย Encoder

จัดทำโดย นายณฐกร      โชติบุตร      แผนกเมคคาทรอนิกส์  วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร Esan3D เอ็นโค๊ดเดอร์ Encoder คืออะไร  ? มีอีกชื่อหนึ่งที่นิยมเรียกกันว่า เอ็นโค้ดเดอร์แบบแกนหมุน คือ เซ็นเซอร์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่ในการเข้ารหัส จากระยะทางจากการหมุนรอบตัวเอง และแปลงออกมาเป็นรหัสในรูปแบบของสัญญาณ ไฟฟ้า โดยเราสามารถนำเอารหัสเหล่านี้มาแปลงกลับ เพื่อหาค่าต่างๆที่เราต้องการได้ ไม่ว่าจะเป็นระยะทางการหมุน องศาการเคลื่อนที่ หรือ ความเร็วรอบก็ได้ แล้วนำมาแสดงผลให้เราได้ทราบค่าผ่านหน้าจอแสดงผล เช่น ถ้าต้องการวัดระยะทาง เราจะต้องต่อเข้ากับตัวนับจำนวน เพื่อแสดงผลเป็นระยะทาง หรือ ถ้าต้องการวัดความเร็วรอบ เราจะต้องต่อเข้ากับตัววัดพัลส์ โดยการประยุกต์ใช้เอ็นโค้ดเดอร์นั้น สามารถใช้ทำงานได้อย่างหลากหลาย เช่น กระบวนการประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ เครื่องมือวัดต่างๆ เช่น ในการวัดความยาว หรือ อุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์ เป็นต้น การจะเลือกใช้ Encoder ต้องดูที่อะไรบ้าง  ? 1.  ความยาวสายสัญญาณของเอ็นโค้ดเดอร์ เมือเรามีการใช้งานตัวเอ็นโค้ดเดอร์ในงานตรวจจับความเร็วที่มีสัญญาณความถี่สูง จะ