ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2019

วงจรขนานและวงจรอนุกรม

Nisakorn butwong วงจรขนาน          เป็นการนำเอาต้นของเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกๆ ตัวมาต่อรวมกัน และต่อเข้ากับแหล่งกำเนิดที่จุดหนึ่ง นำปลายสายของทุกๆ ตัวมาต่อรวมกันและนำไปต่อกับแหล่งกำเนิดอีกจุดหนึ่งที่เหลือ ซึ่งเมื่อเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละอันต่อเรียบร้อยแล้วจะกลายเป็นวงจรย่อย กระแสไฟฟ้าที่ไหลจะสามารถไหลได้หลายทางขึ้นอยู่กับตัวของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่นำมาต่อขนานกัน ถ้าเกิดในวงจรมีเครื่องใช้ไฟฟ้าตัวหนึ่งขาดหรือเปิดวงจร เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เหลือก็ยังสามารถทำงานได้ ในบ้านเรือนที่อยู่อาศัยปัจจุบันจะเป็นการต่อวงจรแบบนี้ทั้งสิ้น อยากรู้อะไรให้ดูตามลิ้งครับ http://webhtml.horhook.com/wbi/ec/4parallel-02.htm วงจรอนุกรม      เป็นการนำเอาเครื่แงใช้ไฟฟ้าหรือโหลดมาต่อกันเป็นลูกโซ่หรือก็คือการนำเครื่องใช้ไฟฟ้า ตัวหนึ่งไปต่อกับเครื่องใช้ไฟฟ้าอีกตัวหนึ่งและเรียงต่อไปเรื่อยๆจนหมดแล้วนำไปต่อกับแหล่งจ่ายไฟ การต่อวงจรอนุกรมกระแสไฟจะเดินได้ทางเดียวเท่านั้น ถ้าเกิดมีเครื่องใช้ไฟฟ้าเสียหายหรอวงจรเปิด จะทำให้วงจรไม่ทำงาน อยาดรู้อะไรเพิ่มดูตามลิ้งครับ http://webhtm

วงจรขนานและอนุกรม

Nattaphon วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม   หมายถึง การนำอุปกรณ์ไฟฟ้ามาต่อเรียงลำดับกันไป โดยนำปลายด้านใดด้านหนึ่งของอุปกรณ์ตัวที่หนึ่งมาต่อกับอุปกรณ์ตัวที่สอง จากนั้นนำปลายที่เหลือของอุปกรณ์ไปก็ต่อกับอุปกรณ์ตัวอื่นๆในลักษณะที่เรียงกันไปเรื่อย ๆ จนถึงอุปกรณ์ตัวสุดท้ายให้ต่อปลายที่เหลือเข้ากับแหล่งกำเนิดไฟฟ้าหรื่อแหล่งจ่ายไฟ ที่มา :  http://www.kksci.com คุณสมบัติที่สำคัญของวงจรอนุกรม  1. กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านเท่ากันและมีทิศทางเดียวกัน 2. ความต้านทานรวมของวงจรจะมีค่าเท่ากับผลรวมของความต้านทานทุกตัวรวมกันในวงจร 3. แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมในวงจร เมื่อนำมารวมกันแล้วจะเท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งกำเนิด วงจรไฟฟ้าแบบขนาน   หมายถึง การนำอุปกรณ์ไฟฟ้าตั้งแต่  2  ตัวขึ้นไปมาต่อเรียงแบบขนานกัน โดยนำปลายด้านเดียวกันของอุปกรณ์แต่ละตัวมาต่อเข้าด้วยกัน แล้วต่อปลายของอุปกรณ์แต่ละตัวที่ต่อกันแล้วนั้นเข้ากับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า ที่มา :  http://www.kksci.com คุณสมบัติที่สำคัญของวงจรขนาน 1. กระแสไฟฟ้ารวมของวงจรขนาน จะมีค่าเท่ากับกระแสไฟฟ้าย่อยที่ไหลในรวมกันทั้งหมด 2. แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมส่วนต่างๆ ของวงจร จะเ

บันทึก รายงานการเรียนรู้ CAD CAM เบื้องต้น nisakorn butvong

ขั้นตอนการใช้งานโปรแกรม Artcam pro 2011 ในการเขียนป้ายชื่อ โดย: nisakorn butvong นักเรียน ระดับ ปวช.2 แผนก Mechatronic and Robotics วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร เมื่อกดเข้าโปรแกรมให้กด New Modal เพื่อเปิดกระดาษ พอกดเข้าไปจะมีหน้าให้กดดังรูปขึ้น  Height( Y) = ความสูง width ( x ) = ความกว้าง พอเขียนเสร็จกดok มันจะมีให้ด้วยว่าจะใช้ตรงไหนเป็น จุดศูนย์กลาง หรือ 0 จะมีหน้าดังรูปขึ้น สร้างรูปที่ต้องการที่ต้องการสมมุติว่าผมจะทำป้ายชื่อของผมดังรูป (ค่าจะมีหน่วยเป็นมิลลิเมตร) เเมืาอเห็นรูปแล้วสิ่งที่ผมฝช้นั้นมีแค่ รูสี่เหลี่ยมกับตัวหยนังสือเท่านั้น ก็ง่ายๆ แค่กดรูปสี่เหลี่ยมทีเห็นในภาพแลมันจะมีให้ปรับทางด้านซ้ายมือดังรูป ปรับค่า Height และ Width จากนั้นกด F9 เพื่อใหรูปอยุ่ตรงกลาง ส่วนตัวหนังสือ กดเข้าไปในรูปตัวทีไหญ่ เปลี่ยน Font ตามที่ต้องการ Font ตัวหนาจะมีเส้นสองชั้นตามรูปบน  Font ตัวบางจะเป็นดส้นขีดเส้นเดียวตามรูปบน ถ้าทำป้ายชื่อเสร็จแล้วให้กด toolpaths พอกดเสร็จจะเห็น 2D Toolpaths คลิ๊กที่สี่เหลี่ยมก่อน ปละกดตัว T อันแรก มันจะขึ้นหน้านี้ Profile มีไวสำหรับว่าจะให้ดอกกล

Mechatronics And Robotics SKNTC