Nattaphon
ที่มา : http://www.kksci.com
ที่มา : http://www.kksci.com
อ้างอิงจาก https://sites.google.com/site/electronicisfun/hnwy-thi-5/kd-khxng-xohm/kar-tx-wngcr-fifa-baeb-tang
วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม หมายถึง การนำอุปกรณ์ไฟฟ้ามาต่อเรียงลำดับกันไป โดยนำปลายด้านใดด้านหนึ่งของอุปกรณ์ตัวที่หนึ่งมาต่อกับอุปกรณ์ตัวที่สอง จากนั้นนำปลายที่เหลือของอุปกรณ์ไปก็ต่อกับอุปกรณ์ตัวอื่นๆในลักษณะที่เรียงกันไปเรื่อย ๆ จนถึงอุปกรณ์ตัวสุดท้ายให้ต่อปลายที่เหลือเข้ากับแหล่งกำเนิดไฟฟ้าหรื่อแหล่งจ่ายไฟ
ที่มา : http://www.kksci.com
คุณสมบัติที่สำคัญของวงจรอนุกรม
1. กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านเท่ากันและมีทิศทางเดียวกัน
2. ความต้านทานรวมของวงจรจะมีค่าเท่ากับผลรวมของความต้านทานทุกตัวรวมกันในวงจร
3. แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมในวงจร เมื่อนำมารวมกันแล้วจะเท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งกำเนิด
1. กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านเท่ากันและมีทิศทางเดียวกัน
2. ความต้านทานรวมของวงจรจะมีค่าเท่ากับผลรวมของความต้านทานทุกตัวรวมกันในวงจร
3. แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมในวงจร เมื่อนำมารวมกันแล้วจะเท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งกำเนิด
วงจรไฟฟ้าแบบขนาน หมายถึง การนำอุปกรณ์ไฟฟ้าตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปมาต่อเรียงแบบขนานกัน โดยนำปลายด้านเดียวกันของอุปกรณ์แต่ละตัวมาต่อเข้าด้วยกัน แล้วต่อปลายของอุปกรณ์แต่ละตัวที่ต่อกันแล้วนั้นเข้ากับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า
ที่มา : http://www.kksci.com
คุณสมบัติที่สำคัญของวงจรขนาน
1. กระแสไฟฟ้ารวมของวงจรขนาน จะมีค่าเท่ากับกระแสไฟฟ้าย่อยที่ไหลในรวมกันทั้งหมด
2. แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมส่วนต่างๆ ของวงจร จะเท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งกำเนิด
3. ความต้านทานรวมของวงจร จะมีค่าน้อยกว่าความต้านทานตัวที่น้อยที่สุดที่ต่ออยู่ในวงจร
อ้างอิงจาก https://sites.google.com/site/electronicisfun/hnwy-thi-5/kd-khxng-xohm/kar-tx-wngcr-fifa-baeb-tang
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น