ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤษภาคม, 2020

รู้จัก PYTHON

จัดทำโดย นายปิยะศักดิ์ ไตรเลิศ แผนกเมคคาทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร PYTHON ในตอนนี้ Python ถือว่าเป็นหนึ่งในภาษายอดนิยมเพราะสามารถเอาไปใช้งานในด้าน Data Sci. ได้เป็นอย่างดี (เอาไปทำอย่างอื่นเช่นเขียนเว็บก็ได้นะครับ)  ในบทความนี้จะพูดถึง พื้นฐานการเขียน Python ซึ่งจะเน้นที่เวอร์ชั่น 3 เป็นหลัก Running Mode สำหรับภาษา Python นั้นเป็นภาษาแบบ interpreter ซึ่งทำให้เรารันโปรแกรมได้ 2 รูปแบบคือ terminal เป็นการรัน Python ใน terminal หรือ command-line ซึ่งจะเป็นการพิมพ์คำสั่งทีละคำสั่ง โดยไม่ต้องสร้างไฟล์  .py  ขึ้นมา วิธีการใช้คือรันคำสั่ง   python   หลังจากนั้นก็จะเป็น terminal ของ Python เด้งขึ้นต่อมาให้พิมพ์โค้ดได้เลย ส่วนใหญ่จะเอาไว้เทสโค้ดหรือทดสอบอะไรเล็กๆ น้อยๆ เน้นความเร็วซะมากกว่าเขียนโปรแกรมจริงจัง file วิธีที่ 2 ส่วนใหญ่จะใช้กับการเขียนโปรแกรมแบบปกติ จะต้องเขียนโค้ดในไฟล์นามสกุล   .py  ของ Python ส่วนวิธีการรันโปรแกรมจะใช้คำสั่งเหมือนกับโหมด terminal แต่ต้องเพิ่มชื่อไฟล์ตามหลังด้วย เช่น  python main.py  เป็นต้น หรืออี

servo motor vs stepping motor

SERVO MOTOR Servo Motor เป็นอุปกรณ์ที่สามารถควบคุมเครื่องจักรกล หรือระบบการทํางานนั้นๆ ให้เป็นไปตามความต้องการ เช่น ควบคุมความเร็ว (Speed) , ควบคุมแรงบิด (Torque) , ควบคุมแรงตําแหน่ง (Position) โดยให้ผลลัพธ์ตามความต้องการที่มีความแม่นยําสูง ประเภทของเซอร์โวมอเตอร์(Servo motor) โ ดยทั่วจะมีทั้งดีซีและเอซีเซอร์โว DC Servo Motor มีการใช้เครื่องจักรกลอุตสาหกรรมมากกว่า AC Servo Motor เนื่องจากช่วงที่ผ่านมาการควบคุมกระแสกระแสสูงๆนั้นจะต้องใช้ SCRs  แต่ปัจจุบันทรานซิสเตอร์ได้พัฒนาขีดความสามารถให้ตัดต่อกระแสสูงและใช้งานที่ความถี่ได้สูงๆขึ้น จึงทำให้ระบบควบคุมทางเอซีและระบบเซอร์โวได้ถูกนำมาใช้งานมากขึ้น ซึ่งสามารถแยกประเภทของเซอร์โวได้ดังนี้ 1. มอเตอร์ชนิดที่มีแปรงถ่าน เซอร์โวมอเตอร์ชนิดนี้ที่สเตเตอร์จะเป็นแม่เหล็กถาวร ส่วนโรเตอร์ยังใช้แปรงถ่านและคอมมิวเตอร์เรียงกระแสเข้าสู่ขดลวดอาร์เมเจอร์ เหมือนกับดีซีมอเตอร์ทั่วไป 2. เซอร์โวมอเตอร์ชนิดที่ไม่มีแปรงถ่าน           เซอร์โวมอเตอร์ในกลุ่มนี้ประกอบด้วยดีซีเซอร์โว (DC Brushless Servo ่โรเตอร์ทำด้วยแม่เหล็กถาวร) เอซีเซอร์โว (AC

เรียนรู้ โมดูล A4988 ควบคุม Stepper Motor

จัดทำโดย นายปิยะศักดิ์   ไตรเลิศ       แผนกเมคคาทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร นายณฐกร      โชติบุตร      แผนกเม ค คาทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร A4988 คือ    โมดูล A4988 ควบคุม Stepper Motor A4988 มีขาใช้งานทั้งหมด 16 ขา ซึ่งแบ่งเป็นขาไฟเลี้ยง 2 ขา , คอนโทรล 8 ขา และ Output 4 1. แรงดันขับมอเตอร์ 9 - 35 V (ไฟเลี้ยง) ขา  VMOT,GND กระแสสูงสุด35v 2. แรงดันทำงาน 3 - 5.5 V (ไฟควบคุม)   ขา  VDD,GND 3. ขา 2B,2A,1A,1B เป็นขาสำหรับในการเสียบ motor bipolar 4. ขาSTEP คือควบคุมการหมุนของมอเตอร์ ความเร็วในการหมุน     ขาDIR    คือเป็นการระบุ ทิศทาง องศา  5. ขาSleep และ Reset สองขานี้ จะต่อเข้าด้วยกัน เนื่องจากขา Sleep จะทำหน้าที่ส่งกำลังไฟฟ้าน้อยที่สุดที่ทำได้ให้มอเตอร์ ในขณะที่มอเตอร์ยังไม่หมุน เพื่อเป็นการประหยัดพลังงาน ส่วนขา Reset จะกำหนดจุดเริ่มแรกในการหมุนของมอเตอร์  6.  MS1 - MS3 ทั้ง 3 ขานี้จะใช้ในการกำหนด Step Resolution ของ Stepper Motor  หรือก็คือความละเอียดขององศาในการหมุนของ 7.  ENABLE ใช้สำหรับ เปิดหรือปิดสัญญาณ ต้องการ0 8.  ลิ้งอ้างอิ