ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

110ST-M06030 (220V) มอเตอร์

                                                                    110ST-M06030 (220V)

รูปภาพของมอเตอร์  110ST-M06030 (220V)

 

                                                               



    คุณสมบัติ

ประเภท1.8kw 110st-m06030AC Servo 

กำลังไฟ:1.8kw

แรงดันไฟฟ้า: 220V

จัดอันดับในปัจจุบัน: 6A

ความเร็วสูงสุด: 3000RPM

แรงบิดสูงสุด: 6(N.M)

แรงบิดสูงสุด: 18(N.M)

ความถี่: 3000RPM

ประสิทธิภาพ: IE 2

ปกป้องคุณสมบัติ: กันน้ำ

รูปแบบและประเภทของ AC Servo

โดยส่วนใหญ่แล้ว AC servo  จะประกอบด้วยอุปกรณ์สองชุด
ชุดหนึ่งคือ  Servo amplifier ซึ่งเป็นอุปกรณ์ควบคุมและอีกชุดหนึ่งคือ Servo motor
ซึ่งเป็นอุปกรณ์ขับเคลื่อนและตรวจจับ อย่างไรก็ตาม AC servo ไม่สามารถทำงานได้ หากมีเพียง Servo amplifier และ Servo motor
จำเป็นต้องมี ชุดควบคุม ที่ทำหน้าที่ป้อนคำสั่งด้วย รูปแบบส่วนใหญ่ของระบบ AC servo จะใช้อุปกรณ์สามชุดดังกล่าว
แต่ก็ยังมีรูปแบบอื่นๆ ด้วยเช่นกัน ชุดควบคุมจะส่งคำสั่งไปยัง Servo amplifier
หลังจากที่ได้รับคำสั่งแล้ว Servo amplifier จะส่งคำสั่งดังกล่าวไปยัง Servo motor ต่อไป
ซึ่งจะทำให้มอเตอร์ทำงานอย่างสอดคล้องกับคำสั่ง Servo motor ยังมีชุด Encoder ซึ่งทำหน้าที่เป็นชุดตรวจจับ เพื่อตรวจจับตำแหน่งปัจจุบัน และส่งข้อมูลดังกล่าวให้กับ Servo amplifier ต่อไป
ervo amplifier จะนำค่าของคำสั่งไปเปรียบเทียบกับค่าปัจจุบันตามที่ได้อ่านสัญญาณ Encoder และจากนั้นจะออกคำสั่งที่ปรับปรุงแล้วเพื่อแก้ไขความแตกต่างให้น้อยลง
การทำงานดังกล่าวเรียกว่า การควบคุมแบบป้อนกลับ แทนที่จะส่งคำสั่งเพียงอย่างเดียว การควบคุมแบบป้อนกลับนี้จะช่วยให้AC servo สามารถปรับปรุงคำสั่งอย่างต่อเนื่อง เพื่อนให้สอดคล้องกับผลการทำงานจริง เพื่อที่จะลดความแตกต่าง ทั้งหมดนี้คือหลักการที่ทำให้ AC servo  สามารถทำการควบคุมที่แม่นยำเช่นนั่นได้  


ข้อควรระวังในการติดตั้ง

1 การติดตั้ง / ถอดชิ้นส่วนประกอบเข้ากับปลายเพลามอเตอร์อย่ากระแทกเพลาอย่างแรงเพื่อป้องกันไม่ให้อีกด้านหนึ่งของตัวเข้ารหัสเพลามอเตอร์หลุด 
2. พยายามทำให้เพลาดีที่สุดเพื่อป้องกันการสั่นสะเทือนและความเสียหายของแบริ่ง
                         

                                                                      ตัวอย่างการใช้งาน



ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

คู่มือการใช้ tinkercad เบื้องต้น

คู่มือการใช้งานเบื้องต้น 1.tinkercad               t inkercad คือ  โปรแกรมออกแบบที่ทำงานบน Web Browser  ที่ช่วยในการออกแบบวงจรและยังสามารถจำลองการทำงานของวงจรได้อีกด้วย อีกทั้งยังช่วยในการออกแบบงานจำพวก3dได้อีกด้วยทั้งนี้ทั้งนั้นเราของยกมาแค่การออกแบบวงจรก่อนนะครับ ขั้นตอนการใช้โปรแกรมเบื้องต้น 1.เปิดโปรแกรม หน้าตาโปรแกรมก็จะประมาณนี้คับ 2.เมื่อเปิดโปรแกรมเสร็จแล้วให้ไปที่ Circuits  > try Circuits 3.จากนี้เราก็สามารถเขียนวงจรได้แล้ว 4.ถ้าเราต้องการที่จะเปลี่ยนสีสายของสายที่ใช้ต่อหรือพวกledให้ทำการคลิกทีอุปการณ์และเลือกได้เลย วิธีการนี้ใช้ได้กับการเปลี่ยนค่าตัวต้านทานด้วยเช่นกัน   5.ถ้าเราต้องการที่จะจำลองการทำงานให้เราไปที่ code จากนั้นก็ทำการเขียนได้เลยแต่ในtinkercadมันสามารถเขียนcodeได้หลายแบบมีดังนี้    6.เรามาจำลองการทำงานดูกันเลยดีกว่า ให้เราไปเขียนcodeให้เสร็จก่อนจากนั้นให้ไปกดที่ start simulation จากนั้นมันก็จะทำงานตามที่เราเขียนcode ใว้   7.โปรแกรมมันจะทำการ save ให้เราเองครับผม ถ้าผิดพลาดตรงใหนช่วยชี้แนะหรือเพิ่มเ

ฟื้นฟูเครื่องกลึง

                                                                            เครื่องกลึง เครื่องกลึง  เป็นเครื่องจักรกลที่มีความสาคัญมากในงานช่างกลโรงงาน มีใช้กันตั้งแต่ยุคต้นๆ เป็นเครื่องมือกลประเภทแปรรูปโลหะทรงกระบอกเป็นหลัก สาหรับกลึง เจาะ คว้านรูได้มากมาย เพื่อ ผลิตชิ้นส่วนเครื่องจักรกลไกต่างๆ สาหรับงานผลิต และงานซ่อมงานอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนต้องมี เครื่องกลึงเป็นหลัก 1.ส่วนประกอบของเครื่องกลึงยันศูนย์ เครื่องกลึงยันศูนย์มีส่วนประกอบที่สำคัญๆ อยู่หลายชิ้น สามารถแยกเป็นส่วนประกอบใหญ่ๆ ได้เป็น 6 ส่วนสำคัญคือ 1.1. หัวเครื่องกลึง 1.2. แท่มเลื่อน 1.3. ยันศูนย์ท้าย 1.4. ฐานเครื่องกลึง 1.5. ระบบป้อน 1.6. เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้กับเครื่องกลึง                                                                  ภาพที่ 1.1 ส่วนประกอบของเครื่องกลึงศูนย์ 1.1.1 หัวเครื่องกลึง (Head Stock) หัวเครื่องกลึง เป็นส่วนประกอบที่อยู่บนฐานเครื่องทางด้านซ้าย ภายในหัวเครื่องมีชุดเฟืองทดส่งกำลังสำหรับบังคับหัวจับที่จับชิ้นงานให้หมุน ชุดเฟืองทดสำหรับเปลี่ยนความเร็วรอบสามารถปรับความเร็วรอบระดับต่างๆ ให้เหมาะสมก

วัดองศาการเคลื่อนที่ โดย Encoder

จัดทำโดย นายณฐกร      โชติบุตร      แผนกเมคคาทรอนิกส์  วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร Esan3D เอ็นโค๊ดเดอร์ Encoder คืออะไร  ? มีอีกชื่อหนึ่งที่นิยมเรียกกันว่า เอ็นโค้ดเดอร์แบบแกนหมุน คือ เซ็นเซอร์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่ในการเข้ารหัส จากระยะทางจากการหมุนรอบตัวเอง และแปลงออกมาเป็นรหัสในรูปแบบของสัญญาณ ไฟฟ้า โดยเราสามารถนำเอารหัสเหล่านี้มาแปลงกลับ เพื่อหาค่าต่างๆที่เราต้องการได้ ไม่ว่าจะเป็นระยะทางการหมุน องศาการเคลื่อนที่ หรือ ความเร็วรอบก็ได้ แล้วนำมาแสดงผลให้เราได้ทราบค่าผ่านหน้าจอแสดงผล เช่น ถ้าต้องการวัดระยะทาง เราจะต้องต่อเข้ากับตัวนับจำนวน เพื่อแสดงผลเป็นระยะทาง หรือ ถ้าต้องการวัดความเร็วรอบ เราจะต้องต่อเข้ากับตัววัดพัลส์ โดยการประยุกต์ใช้เอ็นโค้ดเดอร์นั้น สามารถใช้ทำงานได้อย่างหลากหลาย เช่น กระบวนการประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ เครื่องมือวัดต่างๆ เช่น ในการวัดความยาว หรือ อุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์ เป็นต้น การจะเลือกใช้ Encoder ต้องดูที่อะไรบ้าง  ? 1.  ความยาวสายสัญญาณของเอ็นโค้ดเดอร์ เมือเรามีการใช้งานตัวเอ็นโค้ดเดอร์ในงานตรวจจับความเร็วที่มีสัญญาณความถี่สูง จะ