ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การใช้ workbench path ใน free cad ทำ cam

การใช้ workbench path ใน free cad ทำ cam

Path Workbench ใช้สำหรับสร้างคำสั่งเครื่องสำหรับเครื่องCNC  ผลิตวัตถุ 3 มิติให้เป็นจริงบนเครื่อง CNC เช่น เครื่องกัดCNC เครื่องกลึงCNC เครื่องเลเซอร์  โดยใช้คำสั่ง  G-Code คำสั่งถูกสร้างขึ้นใน Path Workbench ข้อมูลทั้งหมดที่จำเป็นในการสร้างG-Codeที่จำเป็นในการประมวลผลในเครื่อง CNC สามารถกำหนดขนาดของวัสดุเครื่องมือใช้ในการตัดเฉือน(tool)สามารถควบคุมความเร็วในการตัดเฉือนชิ้นงานและความเร็วในการเคลื่อนที่เครื่องมือถูกเลือกตามความต้องการของการปฏิบัติงานเส้นทางการกัดถูกสร้างขึ้นโดยใช้ เช่น คำสั่ง Contour และ Pocket วัตถุ Path เหล่านี้ใช้ภาษา G-Code ภายใน Free CAD ส่งออกงานด้วยรหัส G จับคู่กับเครื่องCNC ขั้นตอนนี้เรียกว่าการประมวลผลภายหลัง มีโพสต์โปรเซสเซอร์ที่แตกต่างกัน

   ขั้นตอนที่ 1 สร้างชิ้นงาน 3มิติ โดยใช้ workbench part design



ขั้นตอนที่ 2 เมื่อได้ชิ้นงาน 3 มิติแล้วเข้าในworkbench path แล้วคลิกที่ creates a path job object 

 
                     เมื่อคลิกเข้ามาแล้ว  1.General  คือข้อมูลทั่วไป 



Output 
1. output file คือไฟล์ที่เราต้องการโพสต์ G-Code 
2. processor คือหน่วยประมวลผล ยกตัวอย่างเช่น centroid comparams dynapath grbl


setup คือการตั้งขนาดของชิ้นงานที่ต้องการตัดเฉือน
stock มีให้เลือก 4 รูปแบบ 
1. create box สร้างรูปทรงกล่อง
2. create cylinder  สร้างรูปทรงกระบอก
3. extend model's bound box ขยายขอบเขตของโมเดล
4. use existing solid ใช้รูปร่างตาม solid


Tools คือชนิดของดอกกัด เช่น endmill drill center drill reamer 


toolpaths คือลักษณะในการตัดเฉือนชิ้นงานหรือแนวการตัด สามารถเลือกให้เหมาะสมกับลักษณะชิ้นงาน การปาดหน้า เดินตามเส้น เจาะรู มีคำสั่งให้เราเลือกมากมาย เช่น 
1. contour เดินเส้นตามทางทรงโค้งขนาน
2. profile เดินตามแนวเส้น
3. pocket  ขุดตามแนวเส้นที่กำหนดไว้



เมื่อเขียน toolpath เสร็จแล้วให้ทำการ simulatorดูแนวการตัดเฉือนตรงตามที่เขียน toolpath กำหนดไว้หรือไม่


การ

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

คู่มือการใช้ tinkercad เบื้องต้น

คู่มือการใช้งานเบื้องต้น 1.tinkercad               t inkercad คือ  โปรแกรมออกแบบที่ทำงานบน Web Browser  ที่ช่วยในการออกแบบวงจรและยังสามารถจำลองการทำงานของวงจรได้อีกด้วย อีกทั้งยังช่วยในการออกแบบงานจำพวก3dได้อีกด้วยทั้งนี้ทั้งนั้นเราของยกมาแค่การออกแบบวงจรก่อนนะครับ ขั้นตอนการใช้โปรแกรมเบื้องต้น 1.เปิดโปรแกรม หน้าตาโปรแกรมก็จะประมาณนี้คับ 2.เมื่อเปิดโปรแกรมเสร็จแล้วให้ไปที่ Circuits  > try Circuits 3.จากนี้เราก็สามารถเขียนวงจรได้แล้ว 4.ถ้าเราต้องการที่จะเปลี่ยนสีสายของสายที่ใช้ต่อหรือพวกledให้ทำการคลิกทีอุปการณ์และเลือกได้เลย วิธีการนี้ใช้ได้กับการเปลี่ยนค่าตัวต้านทานด้วยเช่นกัน   5.ถ้าเราต้องการที่จะจำลองการทำงานให้เราไปที่ code จากนั้นก็ทำการเขียนได้เลยแต่ในtinkercadมันสามารถเขียนcodeได้หลายแบบมีดังนี้    6.เรามาจำลองการทำงานดูกันเลยดีกว่า ให้เราไปเขียนcodeให้เสร็จก่อนจากนั้นให้ไปกดที่ start simulation จากนั้นมันก็จะทำงานตามที่เราเขียนcode ใว้   7.โปรแกรมมันจะทำการ save ให้เราเองครับผม ถ้าผิดพลาดตรงใหนช่วยชี้แนะหรือเพิ่มเ

ฟื้นฟูเครื่องกลึง

                                                                            เครื่องกลึง เครื่องกลึง  เป็นเครื่องจักรกลที่มีความสาคัญมากในงานช่างกลโรงงาน มีใช้กันตั้งแต่ยุคต้นๆ เป็นเครื่องมือกลประเภทแปรรูปโลหะทรงกระบอกเป็นหลัก สาหรับกลึง เจาะ คว้านรูได้มากมาย เพื่อ ผลิตชิ้นส่วนเครื่องจักรกลไกต่างๆ สาหรับงานผลิต และงานซ่อมงานอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนต้องมี เครื่องกลึงเป็นหลัก 1.ส่วนประกอบของเครื่องกลึงยันศูนย์ เครื่องกลึงยันศูนย์มีส่วนประกอบที่สำคัญๆ อยู่หลายชิ้น สามารถแยกเป็นส่วนประกอบใหญ่ๆ ได้เป็น 6 ส่วนสำคัญคือ 1.1. หัวเครื่องกลึง 1.2. แท่มเลื่อน 1.3. ยันศูนย์ท้าย 1.4. ฐานเครื่องกลึง 1.5. ระบบป้อน 1.6. เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้กับเครื่องกลึง                                                                  ภาพที่ 1.1 ส่วนประกอบของเครื่องกลึงศูนย์ 1.1.1 หัวเครื่องกลึง (Head Stock) หัวเครื่องกลึง เป็นส่วนประกอบที่อยู่บนฐานเครื่องทางด้านซ้าย ภายในหัวเครื่องมีชุดเฟืองทดส่งกำลังสำหรับบังคับหัวจับที่จับชิ้นงานให้หมุน ชุดเฟืองทดสำหรับเปลี่ยนความเร็วรอบสามารถปรับความเร็วรอบระดับต่างๆ ให้เหมาะสมก

วัดองศาการเคลื่อนที่ โดย Encoder

จัดทำโดย นายณฐกร      โชติบุตร      แผนกเมคคาทรอนิกส์  วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร Esan3D เอ็นโค๊ดเดอร์ Encoder คืออะไร  ? มีอีกชื่อหนึ่งที่นิยมเรียกกันว่า เอ็นโค้ดเดอร์แบบแกนหมุน คือ เซ็นเซอร์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่ในการเข้ารหัส จากระยะทางจากการหมุนรอบตัวเอง และแปลงออกมาเป็นรหัสในรูปแบบของสัญญาณ ไฟฟ้า โดยเราสามารถนำเอารหัสเหล่านี้มาแปลงกลับ เพื่อหาค่าต่างๆที่เราต้องการได้ ไม่ว่าจะเป็นระยะทางการหมุน องศาการเคลื่อนที่ หรือ ความเร็วรอบก็ได้ แล้วนำมาแสดงผลให้เราได้ทราบค่าผ่านหน้าจอแสดงผล เช่น ถ้าต้องการวัดระยะทาง เราจะต้องต่อเข้ากับตัวนับจำนวน เพื่อแสดงผลเป็นระยะทาง หรือ ถ้าต้องการวัดความเร็วรอบ เราจะต้องต่อเข้ากับตัววัดพัลส์ โดยการประยุกต์ใช้เอ็นโค้ดเดอร์นั้น สามารถใช้ทำงานได้อย่างหลากหลาย เช่น กระบวนการประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ เครื่องมือวัดต่างๆ เช่น ในการวัดความยาว หรือ อุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์ เป็นต้น การจะเลือกใช้ Encoder ต้องดูที่อะไรบ้าง  ? 1.  ความยาวสายสัญญาณของเอ็นโค้ดเดอร์ เมือเรามีการใช้งานตัวเอ็นโค้ดเดอร์ในงานตรวจจับความเร็วที่มีสัญญาณความถี่สูง จะ